Posts

Image
ระบบ AS/RS            ระบบการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ  (Automated Storage/Retrieval System  เรียกโดยย่อว่า  AS/RS)   คือ    การทำงานของระบบการจัดเก็บในคลังสินค้าหรือโกดัง ที่มีการควบคุมด้วยระบบการจัดเก็บวัสดุ การรับวัสดุ รวมทั้งการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์ขนถ่าย ที่ทำงานร่วมกับโรงงานและคลังสินค้า ซึ่งสามารถออกแบบการใช้งานให้เหมาะสมกับการทำงานลักษณะต่างๆได้โดยทั่วไปแล้วปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการจัดเก็บและเรียกใช้ของอุปกรณ์แบบ AS/RS จะพิจารณาจากลักษณะโครงสร้างของหิ้งที่ใช้จัดเก็บ ความเร็วในการเคลื่อนของอุปกรณ์  AS/RS  ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ ระบบ  AS/RS  แบ่งออกเป็นแบบต่าง ๆ ดังนี้ - Unit Load AS/RS - Miniload AS/RS - Man-on-Board AS/RS  หรือ  Manaboard AS/RS - Automated Item Retrieval System - Deep-Lane AS/RS   องค์ประกอบพื้นฐานของระบบ  AS/RS 1.       โครงสร้างที่เก็บวัสดุ  (Storage Structure) 2.       เครื่อง  S/R (Storage/Retrieval Machine) 3.       หน่วยของการเก็บวัสดุ  (Storage Module) 4.       สถานีหยิบและฝากวัสดุ  (Pickup and Deposit Station) อุปกรณ์พ
Image
  รถ AGV คืออะไร      Automated Guided Vehicle  หรือ AGV โดยในที่นี้ Quiktron AGV คือระบบขับเคลื่อนภายในอาคารโดยไม่ต้องใช้คน ที่ช่วยขนย้ายสินค้า อุปกรณ์ ได้อย่างถูกต้องแม่นยำ     รถ AGV ได้ถูกนำเข้ามาใช้ในคลังสินค้าจนได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง เพราะคลังสินค้าเป็นพื้นที่ที่มีความซับซ้อน ในแต่ละวันมีการนำเข้าและขนส่งสินค้าจำนวนมาก อีกทั้งยังมีประเภทของสินค้าที่หลากหลาย การจัดการในเรื่องตำแหน่งในการจัดวาง หรือการติดตามสถานะการขนส่ง ขั้นตอนเหล่านี้ การใช้คนเพียงอย่างเดียวอาจทำให้เกิดความล่าช้าและโอกาสผิดพลาดสูง     เทคโนโลยี AGV คือสิ่งที่เข้ามาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการขนส่งในคลังสินค้า เพราะหากเปรียบเทียบระหว่างการใช้แรงงานคนกับการใช้ AGV ในเรื่องของการขนย้ายวัสดุ/สินค้าในคลังสินค้าแล้ว ระบบอัตโนมัติ AGV สามารถทำงานได้อย่างแม่นยำ รวดเร็ว และต่อเนื่องในชั่วโมงการทำงานที่มากกว่า ลดข้อผิดพลาดและปัญหาที่เกิดจากการใช้แรงงานคน      ในปัจจุบัน  AGV   เป็นที่ยอมรับในตลาด  E-Commerce   อย่างกว้างขวาง ผู้นำด้านโลจิสติกส์ระดับโลกไม่ว่าจะเป็น  Amazon   หรือ  Alibaba   ได้นำ  AGV   มาใช้ในการบ
  หุ่นยนต์ในงานอุตสาหกรรม โคบอท หรือ Collaborative Robots คือหุ่นยนต์ในโรงงานอุตสาหกรรมที่มีรูปร่างเป็นแขนกลที่ทำงานหยิบจับจัดเรียงชิ้นส่วนต่างๆและหน้าที่ผลิตชิ้นส่วนต่างๆที่มีขนาดเล็กและต้องการความละเอียด ซึ่ง Cobot จะมีระบบเซ็นเซอร์ที่ล้ำสมัย สามารถตรวจวัดและผลิตชิ้นงานที่มีความละเอียดสูงได้หลายๆชิ้นตามสเกลที่กำหนดไว้โดยปราศจากข้อผิดพลาด หุ่นยนต์เชื่อม                     หนึ่งในหุ่นยนต์สำคัญในอุตสาหกรรมการผลิตของไทย เนื่องจากอุตสาหกรรมผลิตยานยนต์มีการใช้หุ่นยนต์ประเภทนี้สูงโดยหุ่นยนต์เชื่อมจะมีลักษณะเป็นแขนหุ่นที่มีส่วนปลายเป็นหัวเชื่อมเหล็ก มักทำงานร่วมกับระบบสายพานที่คอยส่งวัสดุเข้ามาในระยะ แขนหุ่นจะทำการเชื่อมวัสดุตามจุดต่างๆ โดยอัตโนมัติตามที่มีการตั้งค่าไว้ ซึ่งสามารถทำได้แม่นยำมากกว่ามนุษย์ ตัวอย่างเช่น Fanuc ARC Welding Robot ที่มีการออกแบบมาเพื่อการเชื่อมไฟฟ้าโดยเฉพาะ ซึ่งสามารถรับน้ำหน้กได้ถึง 20 กก. และมีระยะเอื้อม 2 เมตร ใช้ได้ทั้งการเชื่อมไฟฟ้า เชื่อมเลเซอร์ บัดกรี หรืองานตัดประเภทต่างๆ        หุ่นยนต์จัดเรียงสินค้าและวัสดุ                     หุ่นยนต์จัดเรียงสินค้าเป็
Image
  เครื่องจักร  CNC CNC ย่อมาจากคำว่า Computer Numerical Control หมายถึง การควบคุมการทำงานของเครื่องจักรด้วยคำสั่งเชิงตัวเลขด้วยคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ และ ระบบอิเลคทรอนิกส์ จะทำการประมวลผล และ สั่งการเพื่อให้เครื่องจักรทำงาน หรือ เกิดการเคลื่อนที่จากชุดคำสั่งต่าง ๆ หรือ กระทำตามเงื่อนใขที่ถูกกำหนด หลักการทำงาน ของ CNC การผลิตชิ้นงานจะถูกควบคุมการสั่งการด้วย Computer ประกอบด้วย ระยะของการเคลื่อนที่ต่างๆ หรือ อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น หัวกัด Print head ใน 3d Printer ซึ่งจะถูกคำนวณ และ สั่งการจากชุดคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ขั้นต้นจนสิ้นสุดการทำงาน  โดยชุดควบคุมจะได้รับข้อมูลขั้นตอนการทำงาน และ การสั่งการ จากโปรแกรม ที่เราเรียกว่า NC Code หรือ G code (Link) ที่เรารู้จักกัน ซึ่งต้องวางแผน ทุกขั้นตอนก่อนทุกครั้ง และ สร้างเป็นโปรแกรม เพื่อให้ชุดควบคุมทำงานได้สำเร็จ สำหรับแกนหมุนจะมีตั้งแต่  2 แกน – 12แกน สามารถทำงานได้ 2 มิติ ,และ 3มิติ  โดยทั่วไปจะ สร้างโปรแกรมด้วยคอมพิวเตอร์ และ นำข้อมูลผ่าน Post processor จึงจะได้ NC-CODE มาใช้งาน วัสดุที่นำมาใช้กับ CNC เพื่อสร้างชิ้นงาน เช่น ไม้ , แผ่น